ภาษาบาลี – สันสกฤต
วรรค/แถว
|
๑
|
๒
|
๓
|
๔
|
๕
|
วรรค
กะ
|
ก
|
ข
|
ค
|
ฆ
|
ง
|
วรรค
จะ
|
จ
|
ฉ
|
ช
|
ฌ
|
ญ
|
วรรค
ฏะ
|
ฏ
|
ฐ
|
ฑ
|
ฒ
|
ณ
|
วรรค
ตะ
|
ต
|
ถ
|
ท
|
ธ
|
น
|
วรรค
ปะ
|
ป
|
ผ
|
พ
|
ภ
|
ม
|
เศษวรรค
|
ย
ร ล ว ส ห ฬ ํ(อัง)
( ศ,ษ ) (สันสกฤต)
|
ท่องว่า
วรรคกะ ไก่
ไข่ ควาย
ฆ่า งู
วรรคจะ จับ
ฉัน ชู ฌ
เฌอ หญิง
วรรคฏะ ฏัก ฐาน ฑอ
เฒ่า ณิง
วรรคตะ เต่า ถูก ทิ้ง ธ ธง
นาย
วรรคปะ ปลา
ผัก พัก
ภพ ม้า
เศษวรรค ยาย
เรา เล่า ว่า
เสือ หาย แฬ้ว ํ(อัง)
ในภาษาบาลีจะมีการใช้ตัวสะกดตัวตามที่แน่นอนตามกฎเกณฑ์ คือ
ในภาษาบาลีแถวที่จะใช้เป็นตัวสะกดได้คือแถวเลขคี่ คือ ๑, ๓ และ ๕ ดังนี้
แถวที่ ๑ สะกด แถวที่ ๑, ๒
ตาม
แถวที่ ๓ สะกด แถวที่ ๓, ๔
ตาม
แถวที่ ๕ สะกด แถวที่ ๑ – ๕
ตาม
*** ตัวอย่างคำ ***
แถวที่ ๑ สะกด อุกกาบาต ทุกข์ กิจ(จ) สัจจะ มัจฉา วัฏ(ฏ)สงสาร เมตตา วัตถุ
แถวที่ ๓ สะกด อัคคี พยัคฆ์ รัช(ช)กาล มัชฌิม วั(ฑ)ฒนา วุ(ฑ)ฒิ นิพพาน
แถวที่ ๕ สะกด บัลลังก์ สังข์ องค์ เกณฑ์ นิมนต์ นันท์ กัมปนาท สัมผัส
*** ตัวหนา = ตัวสะกด ตัวเอียง = ตัวตาม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น